ระบบปฏิบัติการ Ubuntu จะให้สิทธิ์ผู้ที่ลงระบบ เป็นผู้ดูแลสูงสุด หรือ Super User
เมื่อทำการ
Login
เข้าระบบเรียบร้อยแล้วให้ทำการตรวจสอบเครือข่าย แล้วพิมพ์คำว่า terminal
เพื่อทำการตรวจสอบหมายเลขไอพีของเครื่อง
พิมพ์คำสั่ง
$ ifconfig
จากหน้าจะพบ eth0 ซึ่งเป็นแลนด์การ์ดใบเดียว
ไอพีเครื่องให้ดูที่ inet addr:172.21.50.204 mask 255.255.254.0
ตรวจสอบว่า Vm สามารถติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์เกต์เวย์ได้
$ ping 172.21.51.254
ทำการ Login เป็น Super User เพื่อทำการอัพเดทแพ็กเกจให้ใหม่ที่สุดจาก Repository
$sudo su
[sudo] password for testadmin: ใส่รหัสที่กำหนด
root@ubuntu:/home/testadmin#
ทำการ Update Package
#apt-get update
#apt-get upgrade
การตั้งค่า Date-Time
#date ดูวัน เวลาของเครื่อง
# ln -sf /usr/share/zoneinfo/Asia/Bangkok /etc/localtime
ทดสอบ
#ls –l /etc/localtimels
#ntpdate time1.nimt.or.th
ทำการติดตั้ง Secue Shell
เพื่อให้สามารถ Remote เข้ามาทำงานจากระยะไกลได้
#apt-get install openssh-server
สามารถทดสอบการใช้งาน
openssh-server โดยใช้โปรแกรม SSH Secure Shell หรือ Putty ก็ได้
ทำการติดตั้ง Tasksel
เป็นซอฟแวร์ช่วยในการติดตั้งแพ็กเกจต่าง ๆ ของ Ubuntu
#apt-get install tasksel
ทำการติดตั้ง LAMP Server
ทำการเรียก tasksel ขึ้นมาเพื่อเลือก ออพชั่นที่ต้องการ
#tasksel
เลือก Basic Ubuntu Server และ LAMP Server
เมื่อถึงขั้นตอนการติดตั้ง MySQL ระบบจะให้เรากำหนด รหัสเพื่อเข้าใช้ฐานข้อมูล MySQL
รหัสสำหรับผู้ใช้ root : testmysql!!
Confirm password : testmysql!!
$ ifconfig
จากหน้าจะพบ eth0 ซึ่งเป็นแลนด์การ์ดใบเดียว
ไอพีเครื่องให้ดูที่ inet addr:172.21.50.204 mask 255.255.254.0
ตรวจสอบว่า Vm สามารถติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์เกต์เวย์ได้
$ ping 172.21.51.254
ทำการ Login เป็น Super User เพื่อทำการอัพเดทแพ็กเกจให้ใหม่ที่สุดจาก Repository
$sudo su
[sudo] password for testadmin: ใส่รหัสที่กำหนด
root@ubuntu:/home/testadmin#
ทำการ Update Package
#apt-get update
#apt-get upgrade
การตั้งค่า Date-Time
#date ดูวัน เวลาของเครื่อง
# ln -sf /usr/share/zoneinfo/Asia/Bangkok /etc/localtime
ทดสอบ
#ls –l /etc/localtimels
#ntpdate time1.nimt.or.th
ทำการติดตั้ง Secue Shell
เพื่อให้สามารถ Remote เข้ามาทำงานจากระยะไกลได้
#apt-get install openssh-server
สามารถทดสอบการใช้งาน
openssh-server โดยใช้โปรแกรม SSH Secure Shell หรือ Putty ก็ได้
ทำการติดตั้ง Tasksel
เป็นซอฟแวร์ช่วยในการติดตั้งแพ็กเกจต่าง ๆ ของ Ubuntu
#apt-get install tasksel
ทำการติดตั้ง LAMP Server
ทำการเรียก tasksel ขึ้นมาเพื่อเลือก ออพชั่นที่ต้องการ
#tasksel
เลือก Basic Ubuntu Server และ LAMP Server
เมื่อถึงขั้นตอนการติดตั้ง MySQL ระบบจะให้เรากำหนด รหัสเพื่อเข้าใช้ฐานข้อมูล MySQL
รหัสสำหรับผู้ใช้ root : testmysql!!
Confirm password : testmysql!!
แจ้งเตือน มีการเปลี่ยนแปลงการตั้งค่า
เลือกเว็บเซอร์เวอร์ เป็น apache2
เมื่อเสร็จสิ้นขั้นตอนการติดตั้งแพ็คเกจ LAMP Server เรียบร้อยแล้วให้ ตรวจสอบการทำงานของระบบ MySQL Apache และ PHP5
ตรวจสอบการทำงาน Mysql
mysql> show databases;
mysql> exit;
ตรวจสอบการทำงานของ Apache
ให้เปิดเบราเซอร์ FireFox แล้วพิมพ์ที่ช่องURL: http://localhost
ตรวจสอบการทำงานของ PHP5
#cd /var/www/
#pico phpinfo.php
พิมพ์คำสั่ง PHP ดังนี้
<?PHP
phpinfo();
?>
พิมพ์คำสั่ง PHP ดังนี้
<?PHP
phpinfo();
?>
เปิดเบราเซอร์พิมพ์ URL : http://locahost/phpinfo.php
ตั้งค่า Time Zone บน php.ini
#pico /etc/php5/apache2/php.ini
ค้นหา date.timezone เอา ; ออก แล้วพิมพ์
date.timezone = “Asia/Bangkok”
#pico /etc/php5/cli/php.ini
ค้นหา date.timezone เอา ; ออก แล้วพิมพ์
date.timezone = “Asia/Bangkok”
ทำการติดตั้ง phpmyadmin
#apt-get install phpmyadmin
ใส่รหัส ที่ใช้กับ phpmyadmin
ใส่รหัส ที่ใช้กับ mysql
ยืนยันรหัส mysql
ตรวจสอบการทำงานของ phpmyadmin
เปิดเบราเซอร์พิมพ์ URL : locahost/phpmyadmin
เสร็จขั้นตอนการติดตั้งระบบเบื้องต้นเรียบร้อยแล้ว รอติดตามตอนต่อไปครับ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น